โดยส่วนใหญ่แล้ว ผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานมีความเสี่ยงต่อการป่วยที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังและอาการต่างๆ แต่คนผอมก็ใช่ว่าจะสุขภาพดี ห่างไกลโรคเสมอไป ผู้ที่มีน้ำหนักตัวน้อยเมื่อตรวจร่างกายอาจพบว่ามีไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และกระดุกพรุนได้เช่นกัน
เวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวเวชศาสตร์
โรคภัยไข้เจ็บทั้งหลายไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นเฉพาะในคนอ้วนเท่านั้น คนที่มีรูปร่างผอมเพรียวก็อาจตรวจพบโรคต่างๆ ได้เช่นกัน ซึ่งอาจเกิดมาจากพันธุกรรมเป็นตัวกำหนด และอาจไม่สัมพันธ์กับน้ำหนักตัวเลยก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น
อิเล็กโทรไลต์ผิดปกติ เช่น โพแทสเซียม โซเดียม หรือคลอไรด์ในเลือดต่ำทำให้ซึม
จะเห็นได้ว่าการมีค่าความดันโลหิตสูงนั้นไม่สัมพันธ์กับน้ำหนักตัวแต่อย่างใด คนอ้วนหรือผอมก็สามารถตรวจพบโรคความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งการรักษานั้นหากปรับเรื่องการดำเนินชีวิตและอาหารแล้วยังไม่ดีขึ้น ก็ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับยาความคุมความดันที่ถูกต้องและเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด
เปรียบเทียบบัตรเครดิต บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด ลงทุน
ประจำเดือนไม่มา เพราะระบบฮอร์โมนผิดปกติ
“ฝีในอวัยวะเพศ” กับสาเหตุของโรค พร้อมการรักษา และวิธีป้องกัน
คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่า ผู้ที่ป่วยเป็นโรคคลั่งผอม จะไม่มีความอยากอาหารโดยอัตโนมัติ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ผู้ป่วยโรคคลั่งผอมจำนวนมาก ยังมีความอยากอาหารอยู่ โรคผอม แต่เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น ร่างกายของผู้ป่วย จะเกิดอาการปฏิเสธที่จะรับอาหารเข้าสู่ร่างกาย ทำให้แม้ว่าจะพยายามกินอาหารเข้าไป ก็จะอาเจียนอาหารเหล่านั้นออกมา โดยที่ไม่สามารถควบคุมได้
ทั้งนี้ ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวป่วยเป็นโรคผิดปกติเกี่ยวกับการกิน โรคซึมเศร้า หรือใช้สารเสพติด ก็เสี่ยงเป็น อะนอร์เร็กเซีย ได้ เนื่องจากอาการป่วยหรือการใช้สารเสพติดของบุคคลในครอบครัวต่างส่งผลต่อยีนอันนำไปสู่โรคนี้
เครื่องมือค้นหา วัคซีนผู้ใหญ่ ออนไลน์
กังวลและกลัวว่าน้ำหนักตัวเพิ่มหรืออ้วนขึ้น ทั้งที่น้ำหนักตัวน้อยเกินไป รวมทั้งไม่ยอมทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
แพทย์จะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเข้าข่ายป่วยเป็นโรคนี้่หรือไม่ โดยเบื้องต้นจะซักถามคำถามทั่วไปเกี่ยวกับน้ำหนักตัวและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น น้ำหนักตัวที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมา ความรู้สึกหรือความกังวลเกี่ยวกับน้ำหนักตัว พฤติกรรมล้วงคออาเจียน ปัญหาประจำเดือนไม่มาหรือปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยต้องตอบคำถามเหล่านี้ตามความจริง เพื่อให้ประมวลผลออกมาได้อย่างแม่นยำ ทั้งนี้ แพทย์อาจตรวจด้านอื่น ๆ สำหรับประกอบการวินิจฉัย ดังนี้
ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้หลายอย่าง ซึ่งอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต แม้น้ำหนักจะเป็นปกติ ไม่ต่ำมากก็ตาม เนื่องจากเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะและภาวะเกลือแร่ที่ไม่สมดุล ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอะนอร์เร็กเซีย แบ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนทางกาย และภาวะแทรกซ้อนทางจิต ดังนี้